รายงานสรุปการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม
ปีการศึกษา 2565
ที่ | ชื่อโครงการ/ ผู้รับผิดชอบ | ประเด็นที่นำไปใช้/ สถานที่ | ผลการสะท้อนจากแหล่งการใช้ประโยชน์ |
1 | ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแล ผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในสถานการณ์ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า | – นำผลการวิจัยใช้ในกิจกรรมส่งเสริม คุณภาพชีวิตของผู้ดูแล ผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 – โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ | – ควรนำไปเป็นแนวทางใน การติดตามผู้ดูแลผู้ป่วย โรคเบาหวาน และโรคเรื้อรังอื่น ๆ เพื่อค้นหาปัญหาที่ อาจเกิดขึ้นเพื่อนำข้อมูลนั้นมาทำการจัดโปรแกรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตแก่ ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตลอดจนโรคเรื้อรังอื่น ๆ |
2 | ศักยภาพการอบรมเลี้ยงดูเด็กประถมวัยด้วยการกินกอดเล่นเล่าและการมีส่วนร่วมของผู้ดูแล ณ ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ | 1.นำผลการวิจัยไปใช้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กควรวางแผนและมีแนวทางการสร้างเสริมศักยภาพของผู้ดูแลเด็กด้วยการกิน กอด เล่น เล่า เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตำมช่วงวัย 2.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลและครอบครัว ชุมชนอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างเครือข่ายในการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่ต้องพึ่งพิงเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ ดังนั้นทุกภาคส่วนควรให้ ความสำคัญ เพื่อเด็กจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ที่มีคุณภาพของประเทศชาติต่อไป – ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบล นาฝาย จังหวัดชัยภูม | – ควรมีการนำกิจกรรมไป ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และ มีการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้ หรือแนวทาง การสร้างเสริมศักยภาพ ผู้ ดู แ ล เด็ก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างยั่งยืน |
3 | การศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ
| – กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคของประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมินำข้อมูลสถานการณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงไปวางแผน เสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในการป้องกันเรื้อรังที่เป็นสาเหตุจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม – โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ | – ควรนำกิจกรรมไป ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับ บริบทของแต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะพฤติกรรมสูบบุหรี่ ซึ่งทักษะความรู้ ความเข้าใจทางสุขภาพและทักษะการสื่อสารทางสุขภาพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพ ดังนั้น ควรให้การส่งเสริมทักษะ การสื่อสารทางสุขภาพเพื่อกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจทางสุขภาพ |
4 | ผลของโปรแกรมสารสนเทศแรงจูงใจ และการฝึกทักษะต่อความรู้ และพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงของนักศึกษามหาวิทยาลัยในจังหวัดชัยภูมิ | – นำโปรแกรมสารสนเทศ แรงจูงใจและการฝึกทักษะไปใช้ในกำรในการประเมินความรู้และพฤติกรรมป้องกันการ ตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษาสถานที่คณะพยาบาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ชัยภูมิ – โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เพื่อให้เกิดการจัด กิจกรรมด้านพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษา | – ควรมีการศึกษาต่อยอดเพื่อ ปรับปรุงพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศเพื่อประยุกต์ใช้ในกำรประเมินความรู้และ พฤติกรรมสุขภาพในเรื่อง อื่นๆ เพิ่มเติม |
5 | รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชนสำหรับสังคมผู้สูงอายุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ | นำไปใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชนในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านพลัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิเพื่อให้เกิดการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่สอดคล้องกับความต้องการผู้สูงอำยุและมีประสิทธิภาพ | – นำกิจกรรมไปปรับเปลี่ยน ให้สอดคล้องกับบริบทของ แต่ละพื้นที่รวมถึงเพิ่มตัวแปรด้ำนคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจะทำให้งานวิจัยมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น – การพัฒนากิจกรรมรูปแบบอย่างต่อเนื่องเน้นการมี ส่วนร่วมของกลุ่มผู้สูงอายุ |
6 | ผลของโปรแกรมการเสริมพลังอำนาจโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ต่อความสามารถการดูแลตนเองในการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุ ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัด ชัยภูมิ | – นำไปใช้ในการพัฒนาโปรแกรมการป้องกันภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุบ้านช่อระกา” – โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิเพื่อให้เกิดการจัดกิจกรรมด้านการป้องกันการหกล้มที่สอดคล้องกับความต้องการผู้สูงอายุและมีประสิทธิภาพ | – ควรมีการดำเนินการอย่าง ต่อเนื่องและต่อยอดให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน – พัฒนากิจกรรมในการมีส่วน ร่วมของชุมชนที่ยั่งยืนต่อไป |
7 | ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง โรงพยาบาลตติยภูมิ | – การนำผลการวิจัยที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ในการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคหัวใจ -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เพื่อให้ผู้ป่วยได้ ตระหนักต่อการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยงและต่อยอดสู่การกำหนดกิจกรรมการส่งเสริม สุขภาพเพื่อป้องกันภาวะแทรก ซ้อนจากโรคหลอดเลือดสมอง | – การศึกษาต่อยอดเพื่อนำไปสู่การออกแบบกิจกรรมเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง โรงพยาบาลตติยภูมิ – กำรพัฒนาระบบการดูแล ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง – โรคเบาหวานและโรคหัวใจ ตามความคาดหวังและเพิ่ม ประสิทธิภาพมากขึ้น |
8 | แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ | – การจัดนำข้อมูลไปใช้เป็นข้อมูลนำเข้าในการออกแบบกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุตำบลนา ฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิซึ่งเป็นพื้นที่เป้าหมายหลักของคณะพยาบาลศาสตร์ซึ่งกิจกรรมที่นำมาประยุกต์ใช้ คือ กิจกรรมกำรบริหารสมอง การ ออกกำลังกำยแบบพื้นเมืองประยุกต์ และการทำกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุรายอื่นอย่างต่อเนื่อง – โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ได้นำรูปแบบกิจกรรมที่เป็นผลลัพธ์จากการวิจัยมาประยุกต์ใช้ในการให้คำแนะนำผู้สูงอายุในพื้นที่ความรับผิดชอบ | – ข้อมูลการวิจัยนี้สามารถนำมาเป็นข้อมูลเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้สูงอำยุได้ – การพัฒนาต่อยอดสู่งานวิจัย กึ่งทดลองร่วมกับอาจารย์ กลุ่มวิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ต่อไป |
9 | ความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติในด้านโภชนาการเด็กปฐมวัย และด้านส่วนประสมทางการตลาดของผู้ปกครองตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ | – มีแนวทางการสร้างเสริมความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติในด้านโภชนาการเด็กปฐมวัย – ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง และครอบครัว – ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนาเสียว จังหวัดชัยภูมิ | – ควรมีการนำกิจกรรมสร้าง เสริมความรู้ ทัศนคติ การ ปฏิบัติในด้านโภชนาการเด็ก ปฐมวัยไปดำเนินการอย่างต่อ เนื่องและมีการจัดกิจกรรมพัฒนาทัศนคติ การปฏิบัติในด้านโภชนาการเด็กเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างยั่งยืน |
10 | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. | – การนำผลการวิจัยที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ในการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง – โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เพื่อให้ผู้ป่วยได้ตระหนักต่อการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | – การศึกษาต่อยอดเพื่อนำไปสู่ การออกแบบกิจกรรมเพื่อเป็น ประโยชน์ต่อการป้องกันโรค หลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรค เรื้อรัง – การพัฒนาระบบการดูแลการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
11 | ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนตามแผนพัฒนาสาธารณสุขต่อความรู้ เจตคติและทักษะ การปฏิบัติตนของมารดาหลังคลอด | ประเด็นที่นำไปใช้ประโยชน์ แนวทางการดูแลสุขภาพของมารดาหลังคลอด สถานที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยางหวาย อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ | – ได้รูปแบบในการดูแลมารดาหลังคลอดที่มีประโยชน์และมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง ควรมีการสนับสนุนและนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลมารดาเพิ่มเติม |
12 | การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพมารดาและทารกหลังคลอดด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ในเขตองค์การ บริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ | ประเด็นที่นำไปใช้ประโยชน์ รูปแบบการดูแลสุขภาพของมารดาหลังคลอดด้วย ภูมิปัญญาท้องถิ่น สถานที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยางหวาย อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ | – ได้นำรูปแบบการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์กับการให้บริการมารดาหลังคลอด หากมีการทำวิจัยต่อเนื่อง ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อศึกษาผลลัพธ์การดูแลมารดาหลังด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มเติมจะทำให้เกิดประโยชน์เพิ่มมากขึ้น |